วิธีเพาะเพื่อการค้าเขาทำกันแบบนี้ครับ...รู้ไว้ว่าตอนไหนบ้างที่มีสารเคมีเข้ามาเกี่ยวข้อง
โดยถั่วเขียว 1 กิโลกรัม สามารถเพราะเป็นถั่วงอกได้ 5-6 กิโลกรัม สามารถเลือกใช้ได้ทั้งถั่วงอก ผิวมัน(เปลือกสีเขียว) และถั่วงอกผิวดำ(เปลือกสีดำ) ถั่วเขียวทุกพันธุ์ที่ปลูกในประเทศไทย สามารถใช้เพาะถั่วงอกได้ทั้งสิ้น ในอดีตถั่วเขียวที่นิยมใช้เพาะถั่วงอกจะเป็นถั่วเขียวผิวด้าน แต่ปัจจุบันมีการปรับปรุงพันธุ์ถั่วเขียวผิวมันขึ้นมาหลายพันธุ์ เช่น พันธุ์อู่ทอง พันธุ์กำแพงแสน และพันธุ์ถั่วเขียวผิวดำ ถั่วเขียวผิวดำ เมื่อเพาะเป็นถั่วงอกแล้วถั่วงอกจะมี สีเขียวกว่าถั่วเขียวผิวมัน ถั่วงอกที่ได้จะออก เหลืองอ่อนๆ ไม่ขาวเท่าถั่วงอกจากถั่วเขียวผิวดำ
2.นำเมล็ดถั่วเขียวที่จะเพาะมาล้างในน้ำที่สะอาด
ช้อนแยกเมล็ดถั่วเขียวที่ลอยอยู่ที่ผิวน้ำ ด้านบน ออก (ไม่ควรนำมาใช้เพาะเป็นถั่วงอก เพราะเมล็ดจะอ่อนเกินไป) คัดเฉพาะถั่วเขียวที่จมน้ำมาเตรียมใช้เพาะ ถั่วงอกเท่านั้น เพราะเป็นเมล็ดที่แก่จัด น้ำที่ใช้แช่ ถั่วเขียวนี้อาจผสมคลอรีนลงไป โดยใช้ความเข้มข้นของคลอรีน 100 พีพีเอ็ม แช่เมล็ด ถั่วเขียวนาน 1-2 ชั่วโมง คลอรีนจะ ช่วยทำความสะอาดเปลือกนอกชของเมล็ดถั่วเขียวที่อาจมีเชื้อรา หรือแบคทีเรียติดมาได้สะอาดถึงร้อยละ 95 ถ้าไม่ สามารถหาผลคลอรีนได้ อาจใช้น้ำร้อนผสมกับน้ำเย็น อัตราส่วน 1:1 ทำเป็นน้ำอุ่น แล้วนำ เมล็ดถั่วเขียวลงแช่นาน 1-2 ชั่วโมง น้ำอุ่นสามารถป้องกันกำจัดเชื้อโรคที่ติดมากับผิวเมล็ดพันธุ์ ถั่วเขียวได้ถึงร้อยละ 75
3.ใส่ถั่วเขียวที่แช่แล้วลงในถังเพาะ
ช้อนแยกเมล็ดถั่วเขียวที่ลอยอยู่ที่ผิวน้ำ ด้านบน ออก (ไม่ควรนำมาใช้เพาะเป็นถั่วงอก เพราะเมล็ดจะอ่อนเกินไป) คัดเฉพาะถั่วเขียวที่จมน้ำมาเตรียมใช้เพาะ ถั่วงอกเท่านั้น เพราะเป็นเมล็ดที่แก่จัด น้ำที่ใช้แช่ ถั่วเขียวนี้อาจผสมคลอรีนลงไป โดยใช้ความเข้มข้นของคลอรีน 100 พีพีเอ็ม แช่เมล็ด ถั่วเขียวนาน 1-2 ชั่วโมง คลอรีนจะ ช่วยทำความสะอาดเปลือกนอกชของเมล็ดถั่วเขียวที่อาจมีเชื้อรา หรือแบคทีเรียติดมาได้สะอาดถึงร้อยละ 95 ถ้าไม่ สามารถหาผลคลอรีนได้ อาจใช้น้ำร้อนผสมกับน้ำเย็น อัตราส่วน 1:1 ทำเป็นน้ำอุ่น แล้วนำ เมล็ดถั่วเขียวลงแช่นาน 1-2 ชั่วโมง น้ำอุ่นสามารถป้องกันกำจัดเชื้อโรคที่ติดมากับผิวเมล็ดพันธุ์ ถั่วเขียวได้ถึงร้อยละ 75
3.ใส่ถั่วเขียวที่แช่แล้วลงในถังเพาะ
ที่เจาะรูระบายน้ำแล้ว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของรู 2-3 มิลลิเมตร เจาะตามแนวเส้น ผ่าศูนย์กลางของรู 2-3 มิลลิเมตร เจาะตามแนวเส้นรอบวงของถัง มีข้อควรสังเกตว่า ขนาดความสูงของถังเท่าใดก็ตาม ต้องใส่เมล็ดถั่วเขียวที่จะใช้เพาะไม่เกิน 1 ใน 3 ความสูงของถังเพาะ เพราะเมื่อถั่วงอกเจริญเติบโตครบอายุถั่วงอกจะดัน ขึ้นมา เองเป็นชั้นๆ และสูงขึ้นมาไม่เกินขอบความสูงของ ปากถัง การที่ผู้เพาะใส่เมล็ดถั่วเพียง 1 ใน 3 ก็เพื่อป้องกันไม่ให้ถั่วที่ เพาะได้ล้นหกออกมานอกถังเลอะ
4.ถั่วเขียวที่ใส่ลงถังเพาะ
ควรใช้มือเกลี่ยผิวหน้าด้านบนเมล็ดถั่วเขียวให้เรียบ ผิวหน้าจากนั้นใช้ กระสอบป่าน หรือผ้าซาแลน หรือฟองน้ำ ที่ผ่านการนำไปทำความสะอาดโดยการนึ่งฆ่าเชื้อ หรือต้มในน้ำจนเดือดแล้วรอจนเย็น แล้วจึงนำมาคลุมผิวหน้าของถังเพาะถั่งงอกที่ใส่เมล็ดถั่วเขียวลงไปแล้ว
ควรใช้มือเกลี่ยผิวหน้าด้านบนเมล็ดถั่วเขียวให้เรียบ ผิวหน้าจากนั้นใช้ กระสอบป่าน หรือผ้าซาแลน หรือฟองน้ำ ที่ผ่านการนำไปทำความสะอาดโดยการนึ่งฆ่าเชื้อ หรือต้มในน้ำจนเดือดแล้วรอจนเย็น แล้วจึงนำมาคลุมผิวหน้าของถังเพาะถั่งงอกที่ใส่เมล็ดถั่วเขียวลงไปแล้ว
5.ให้นำถังเพาะไปวางบนอิฐบล๊อคทำเป็นขาตั้ง
รองถังเพาะถั่งงอกเพื่อช่วยในการระบายน้ำและอากาศให้ผ่านเข้าออกทางด้านกัน ถังได้ด้วย หรือถ้าเป็นพื้นของโรงเรือนเพาะถั่วงอก วางแผ่นสำเร็จรูป แบบที่มีช่องระบายน้ำและอากาศแบบพื้นคอกโรงเลี้ยง หมู ก็ได้เช่นกัน ถ้าเป็นพื้นโรงเพาะแบบนี้ก็ไม่จำเป็นต้องวางถังเพาะถั่วงอกบนอิฐบล๊อคก็ได้
รองถังเพาะถั่งงอกเพื่อช่วยในการระบายน้ำและอากาศให้ผ่านเข้าออกทางด้านกัน ถังได้ด้วย หรือถ้าเป็นพื้นของโรงเรือนเพาะถั่วงอก วางแผ่นสำเร็จรูป แบบที่มีช่องระบายน้ำและอากาศแบบพื้นคอกโรงเลี้ยง หมู ก็ได้เช่นกัน ถ้าเป็นพื้นโรงเพาะแบบนี้ก็ไม่จำเป็นต้องวางถังเพาะถั่วงอกบนอิฐบล๊อคก็ได้
6.การรดน้ำถั่วเขียว
ที่เพาะอยู่ในถัง ปริมาณน้ำที่ใช้แต่ละครั้งต้องให้น้ำเพียงพอ ที่จะทำให้ถั่วงอกที่เพาะไม่เกิดความร้อนสะสมมากเกินไป วิธีสังเกตง่ายๆ ใช้มือสัมผัสดูผิวหน้าเมล็ดถั่วในถังชั้นบนสุดช่วงต่อ ระหว่างแต่ละครั้งของการให้น้ำต้องไม่เกิดสภาพไอร้อนผ่าวขึ้นมา แสดงว่าการให้น้ำแต่ละครั้งจะเพียงพอ เพราะถ้าให้น้ำไม่ เพียงพอและเกิดความร้อนขึ้นในถังเพาะมากมีผลเสียต่อการเจริญเติบโตของถั่วงอกทำให้ถั่วงอกมีรากฝอยมากขึ้น และต้นจะ โตแบบไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะเมื่อเพาะถั่วงอกในถังพลาสติก ควรหมั่นรดน้ำสม่ำเสมอ ทุกๆ 2-3 ชั่วโมง ทั้งกลางวัน และ กลางคืน เพราะถังพลาสติกจะไม่่ค่อยเก็บความเย็นไว้ได้เหมือน ถังซีเมนต์ หรือไห ซึ่งสามารถรดน้ำถังที่เพาะได้ช้ากว่าเป็น ทุกๆ 4-6 ชั่วโมง เพราะถังซีเมนต์เก็บความเย็นจากน้ำได้ดีกว่า ถังพลาสติก
ที่เพาะอยู่ในถัง ปริมาณน้ำที่ใช้แต่ละครั้งต้องให้น้ำเพียงพอ ที่จะทำให้ถั่วงอกที่เพาะไม่เกิดความร้อนสะสมมากเกินไป วิธีสังเกตง่ายๆ ใช้มือสัมผัสดูผิวหน้าเมล็ดถั่วในถังชั้นบนสุดช่วงต่อ ระหว่างแต่ละครั้งของการให้น้ำต้องไม่เกิดสภาพไอร้อนผ่าวขึ้นมา แสดงว่าการให้น้ำแต่ละครั้งจะเพียงพอ เพราะถ้าให้น้ำไม่ เพียงพอและเกิดความร้อนขึ้นในถังเพาะมากมีผลเสียต่อการเจริญเติบโตของถั่วงอกทำให้ถั่วงอกมีรากฝอยมากขึ้น และต้นจะ โตแบบไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะเมื่อเพาะถั่วงอกในถังพลาสติก ควรหมั่นรดน้ำสม่ำเสมอ ทุกๆ 2-3 ชั่วโมง ทั้งกลางวัน และ กลางคืน เพราะถังพลาสติกจะไม่่ค่อยเก็บความเย็นไว้ได้เหมือน ถังซีเมนต์ หรือไห ซึ่งสามารถรดน้ำถังที่เพาะได้ช้ากว่าเป็น ทุกๆ 4-6 ชั่วโมง เพราะถังซีเมนต์เก็บความเย็นจากน้ำได้ดีกว่า ถังพลาสติก
7.เมื่อถั่วงอกเจริญเติบโต
มีรากงอกออกมาเล็กๆ ขนาดความยาวของราก 0.5-1 เซนติเมตร หรือเพาะไปแล้ว นาน 18-20 ชั่วโมง (ในเชิงการค้ามีการรดสารถั่วอ้วนเพื่อเพิ่มธาตุอาหารให้กับถั่วงอกที่เพาะ จะช่วยให้ถั่วงอกมีการสะสม โปรตีนเพิ่มมากขึ้น ทำให้ถั่วงอกอ้วน และมีน้ำหนักดีขึ้น เหมือนกับถั่วงอกที่เพาะขายในเชิงการค้า โดยก่อนการใช้ สารถั่วอ้วนผสมน้ำรด ควรงดการให้น้ำก่อนและหลังนาน 2 ชั่วโมง เพื่อให้ผิวถั่วแห้งและดูดธาตุอาหารเข้าไปใช้ได้เต็ม และอัตราการใช้สารถั่วอ้วนสามารถใช้อัตรา 1 ซีซี ผสมน้ำสะอาด1 ลิตร หลังจากการรดสารถั่วอ้วนไปแล้ว ก่อนเริ่มรดน้ำใหม่ ควรรดน้ำให้มากกว่าปกติ 5-6 เท่า เพิ่มให้ถั่วขยายขนาดเพิ่มขึ้นผู้เพาะควรผสมน้ำกับสารถั่วอ้วนรดถั่วงอก ที่เพาะวันละ หนึ่งครั้ง และอย่างน้อยควรรดติดต่อกัน 2 วัน โดยห่างจากการให้ครั้งแรกนาน 24 ชั่วโมง ในกรณีผู้ที่จะเพาะทานเองในบ้าน จะเพาะแบบธรรมชาติไม่รดสารถั่วอ้วนก็ได้ แต่ถั่วงอกที่ได้จะผอมยาว และมีรากฝอยเกิดขึ้นมาก อาจจะไม่สามารถนำไป วางขายในเชิงธุรกิจได้)
มีรากงอกออกมาเล็กๆ ขนาดความยาวของราก 0.5-1 เซนติเมตร หรือเพาะไปแล้ว นาน 18-20 ชั่วโมง (ในเชิงการค้ามีการรดสารถั่วอ้วนเพื่อเพิ่มธาตุอาหารให้กับถั่วงอกที่เพาะ จะช่วยให้ถั่วงอกมีการสะสม โปรตีนเพิ่มมากขึ้น ทำให้ถั่วงอกอ้วน และมีน้ำหนักดีขึ้น เหมือนกับถั่วงอกที่เพาะขายในเชิงการค้า โดยก่อนการใช้ สารถั่วอ้วนผสมน้ำรด ควรงดการให้น้ำก่อนและหลังนาน 2 ชั่วโมง เพื่อให้ผิวถั่วแห้งและดูดธาตุอาหารเข้าไปใช้ได้เต็ม และอัตราการใช้สารถั่วอ้วนสามารถใช้อัตรา 1 ซีซี ผสมน้ำสะอาด1 ลิตร หลังจากการรดสารถั่วอ้วนไปแล้ว ก่อนเริ่มรดน้ำใหม่ ควรรดน้ำให้มากกว่าปกติ 5-6 เท่า เพิ่มให้ถั่วขยายขนาดเพิ่มขึ้นผู้เพาะควรผสมน้ำกับสารถั่วอ้วนรดถั่วงอก ที่เพาะวันละ หนึ่งครั้ง และอย่างน้อยควรรดติดต่อกัน 2 วัน โดยห่างจากการให้ครั้งแรกนาน 24 ชั่วโมง ในกรณีผู้ที่จะเพาะทานเองในบ้าน จะเพาะแบบธรรมชาติไม่รดสารถั่วอ้วนก็ได้ แต่ถั่วงอกที่ได้จะผอมยาว และมีรากฝอยเกิดขึ้นมาก อาจจะไม่สามารถนำไป วางขายในเชิงธุรกิจได้)
8.ถั่วงอกเมื่อเพาะครบ 68-72 ชั่วโมง
ถ้าเป็นการเพาะในฤดูร้อน หรือฤดูฝน สามารถเก็บออกมาขายได้ แต่ถ้าสถานที่ เพาะตั้งอยู่ในที่ที่อากาศเย็นหรือเป็นฤดูหนาว อาจต้องขยายเวลาการเจริญเติบโต ของถั่วงอกเป็น 96 ชั่วโมง จึงจะเก็บได้
ถ้าเป็นการเพาะในฤดูร้อน หรือฤดูฝน สามารถเก็บออกมาขายได้ แต่ถ้าสถานที่ เพาะตั้งอยู่ในที่ที่อากาศเย็นหรือเป็นฤดูหนาว อาจต้องขยายเวลาการเจริญเติบโต ของถั่วงอกเป็น 96 ชั่วโมง จึงจะเก็บได้
9.การเก็บถั่วงอก
เมื่อจะนำออกขายควรนำไปร่อนให้หัวหลุดออก ใช้กระด้งหรือเครื่องร่อนสายพานก็ได้ แต่ถั่วงอกเมื่อเพาะแล้วใน สภาพการขายในบ้านเราจะถูกแสงแดด และหัวถั่วงอกสามารถกลับเขียวขึ้นมาใหม่ได้ ผู้เพาะอาจใช้น้ำผสมสารส้มขุ่นๆ รดใน น้ำ สุดท้ายก่อนเก็บถั่วงอกออกมาขาย แต่ป้องกันการเปลี่ยนสีของหัวถั่งงอกได้ในช่วงสั้นๆ ในเชิงการค้ามีการใช้สารฟอกสี ประเภท โซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ จะปลอดภัยมากกว่าการใช้สารฟอกประเภทโซเดียมโฮโดรซัลไฟต์ เพราะสารประเภท หลังส่วนใหญ่ใช้ในธุรกิจฟอก ย้อมอวนมากกว่า และภาคราชการไม่แนะนำให้นำเอาสารโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์มาใช้กับ ธุรกิจประเภทอาหารในปัจจุบัน ซึ่งผู้ประกอบการควรใช้สารโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ในระดับต่ำและไม่เกินค่าความปลอดภัย ผสมน้ำรดถั่วงอกในน้ำสุดท้ายก่อนนำออกจำหน่าย เพื่อป้องกันไม่ให้ถั่วงอกเปลี่ยนสี หรือคล่ำลง
เมื่อจะนำออกขายควรนำไปร่อนให้หัวหลุดออก ใช้กระด้งหรือเครื่องร่อนสายพานก็ได้ แต่ถั่วงอกเมื่อเพาะแล้วใน สภาพการขายในบ้านเราจะถูกแสงแดด และหัวถั่วงอกสามารถกลับเขียวขึ้นมาใหม่ได้ ผู้เพาะอาจใช้น้ำผสมสารส้มขุ่นๆ รดใน น้ำ สุดท้ายก่อนเก็บถั่วงอกออกมาขาย แต่ป้องกันการเปลี่ยนสีของหัวถั่งงอกได้ในช่วงสั้นๆ ในเชิงการค้ามีการใช้สารฟอกสี ประเภท โซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ จะปลอดภัยมากกว่าการใช้สารฟอกประเภทโซเดียมโฮโดรซัลไฟต์ เพราะสารประเภท หลังส่วนใหญ่ใช้ในธุรกิจฟอก ย้อมอวนมากกว่า และภาคราชการไม่แนะนำให้นำเอาสารโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์มาใช้กับ ธุรกิจประเภทอาหารในปัจจุบัน ซึ่งผู้ประกอบการควรใช้สารโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ในระดับต่ำและไม่เกินค่าความปลอดภัย ผสมน้ำรดถั่วงอกในน้ำสุดท้ายก่อนนำออกจำหน่าย เพื่อป้องกันไม่ให้ถั่วงอกเปลี่ยนสี หรือคล่ำลง
(ตอนต่อไป เราจะทำเพื่อเพาะกินเองครับ)